Accounting Articles

Accounting Articles

437 รายการ
เมื่อเราผ่อนบ้านกันไปสักระยะหนึ่ง เมื่อพ้นระยะเวลาการผ่อนชำระในช่วง 3 ปีแรก ธนาคารก็จะมีการปรับอัตราดอกเบี้ยให้ลอยตัว ด้วยความที่เศรษฐกิจประเทศนั้นมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ทำให้เรื่องของดอกเบี้ยนั้นมีการเปลี่ยนแปลงตามไปด้วย ซึ่งดอกเบี้ยการผ่อนบ้านจะปรับขึ้น หรือลดลง ตามเศรษฐกิจที่ผันผวน และนโยบายของธนาคารขณะนั้น ทำให้เราอาจจะต้องผ่อนบ้านในราคาที่แพงมากขึ้นนั่นเอง ซึ่งการรีไฟแนนซ์นั้นจะช่วยกำจัดปัญหาดอกเบี้ยสูงเหล่านี้ของคุณไปได้แบบไม่น่าเชื่อ
556 ผู้เข้าชม
5 ชาติใหญ่เผชิญภาวะ เศรษฐกิจถดถอย ในทางเศรษฐศาสตร์ สภาวะเศรษฐกิจถดถอยนั้น มีนิยามกำหนดเอาไว้ชัดเจนว่า หมายถึงกรณีที่อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศใดประเทศหนึ่งติดลบ 2 ไตรมาสติดต่อกัน ในกรณีนี้เศรษฐกิจของประเทศแทนที่จะขยายตัวเติบโตขึ้น กลับจะหดตัวเล็กลงหากสภาพถดถอยดังกล่าวนี้ไม่ได้รับการแก้ไขให้กระเตื้องขึ้น สิ่งที่จะเกิดขึ้นตามมาก็คือภาวะเศรษฐกิจตกต่ำนั่นเอง
6361 ผู้เข้าชม
หนี้ทุกอย่างมีหมด ทั้งหนี้รถ หนี้บ้าน โดยเฉพาะหนี้บัตรเครดิตและหนี้ส่วนบุคคลสามารถขอยื่นผ่อนปรนได้ไหมนะ ? แล้วจะส่งผลต่อประวัติเครดิตบูโรอย่างไรบ้าง ? เป็นคำถามที่วนอยู่ในความคิดของหลายคนในเวลานี้
2312 ผู้เข้าชม
ประกาศบังคับใช้แล้ว ลดอัตราภาษีเงินได้ หัก ณ ที่จ่ายΩ จากอัตรา 3% เหลือเพียง 1.5% ตั้งแต่ 1 เม.ย. 63 - 30 ก.ย. 63 Ω จากอัตรา2% ตั้งแต่ 1 ต.ค. 63 - 31 ธ.ค. 64 (เฉพาะการนำส่งตามวิธี E-Witholding TAX)โดยประกาศลดอัตราดังกล่าว ให้สำหรับการจ่ายเงินได้ประเภทต่อไปนี้
1069 ผู้เข้าชม
เปลี่ยนเงินออมไปลงทุนหุ้นเริ่มต้นอย่างไรไม่ให้เจ็บตัว “ต่อยอดเงินออมด้วยการลงทุน แล้วจะทำให้เรามีเงินใช้ไปถึงวัยอิสระหลังอายุ 60 ปี”เป็นคำพูดหนึ่งของโฆษณาในทีวีที่เราได้ยินบ่อยๆ มีตั้งแต่แนะนำหุ้น กองทุนรวม ทองคำ อสังหาริมทรัพย์ ฯลฯ พอฟังไปเรื่อยๆก็อดสงสัยไม่ได้ว่า “ถ้าทำให้เงินเติบโตขึ้นจริงๆ แล้วทำไมช่วงวิกฤตต้มยำกุ้งปี 40 ถึงเละตุ้มเป๊ะซะขนาดนั้นล่ะ แสดงว่ามันต้องมีอะไรบางอย่างที่เรายังไม่รู้…”
2087 ผู้เข้าชม
โฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี แถลงข่าวที่ทำเนียบรัฐบาล ภายหลังการประชุมคณะรัฐมนตรี (ครม.) เรื่องมาตรการช่วยเหลือเยียวยาประชาชนจากผลกระทบของเชื้อไวรัสโคโรน่า เปิดเผยว่า คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบตามที่กระทรวงแรงงานเสนอเรื่องการผ่อนปรนแนวทางการบริหารจัดการการทำงานของแรงงานต่างด้าวปี 2562-2563 ตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2563 ถึงวันที่ 30 มิถุนายน 2563 สำหรับคนต่างด้าวสัญชาติกัมพูชา ลาว และเมียนมา ส่วนแรงงานไทย ครม. มีมติเห็นชอบร่างกฎกระทรวงกำหนดหลักเกณฑ์และอัตราการได้รับประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงานในช่วงวิกฤตเศรษฐกิจ สำหรับการรับประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงาน ตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2563 - 28 กุมภาพันธ์ 2565
994 ผู้เข้าชม
กระทรวงการคลังรับผิดชอบดูแลเศรษฐกิจไทยในภาพรวม ตระหนัก รับทราบ และเข้าใจถึง ความยากลำบากของประชาชนชาวไทยทุกภาคส่วนและไม่นิ่งดูดาย จึงได้ออกมาตรการดูแลและเยียวยา ผู้ได้รับผลกระทบทั้งประชาชนและผู้ประกอบการอย่างเร่งด่วน โดยยึดหลักการเดิม “ทันการณ์ ตรงเป้าหมาย และ ชั่วคราวตามจำเป็น” เพื่อแบ่งเบาภาระค่าใช้จ่ายให้ประชาชน รวมถึงบรรเทาผลกระทบและเสริมสภาพคล่องให้ ผู้ประกอบการ สามารถผ่านพ้นวิกฤตความยากลำบากไปได้ และเมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2562 คณะรัฐมนตรีมีมติ เห็นชอบ เรื่อง มาตรการดูแลและเยียวยาผลกระทบจากไวรัสโคโรนา (COVID-19) ต่อเศรษฐกิจไทยทั้งทางตรงและทางอ้อม ระยะที่ 2 ตามที่กระทรวงการคลังเสนอ โดยมีรายละเอียดดังนี้
3086 ผู้เข้าชม
ความสำคัญของการลงทุน กับ ความสำคัญของงบการเงิน หลักสำคัญของการลงทุนที่ยั่งยืนนั้น นักลงทุนควรที่ความสำคัญกับการทำความเข้าใจในงบการเงินของกิจการ โดยนักลงทุนจะต้องทราบถึง ความสำคัญของงบการเงิน ว่ามีความสำคัญอย่างไร เพราะข้อมูลในงบการเงินของแต่ละกิจการนั้น จะสามารถบ่งชี้ให้เราทราบถึงโอกาสในการลงทุน โดยดูจากข้อมูลภายในงบการเงินนั้นๆ สำหรับนักลงทุนระยะสั้นหรือนักเก็งกำไรอาจจะคิดว่าไม่มีความจำเป็นในการศึกษางบการเงินก่อนลงทุน เพราะเพียงแค่เป็นการเก็งกำไรระยะสั้นหรืออาจจะคิดว่า สามารถใช้เพียงแค่ข้อมูลด้านเทคนิคอล (Technical) เท่านั้นก็สามารถลงทุนได้ ซึ่งอาจจะเป็นความคิดที่ไม่ถูกต้องเท่าที่ควรเพราะแม้จะเป็นการลงทุนระยะสั้น แต่หากเราทราบที่มาที่ไปของเงินทองที่ใช้ในการดำเนินงาน ที่มาของรายได้ และการใช้ไปของรายจ่ายต่างๆ ของบริษัทนั้นแล้วว่ามีความสมเหตุสมผลหรือไม่นั้น เราจะสามารถเก็งกำไรและลงทุนได้อย่างราบรื่น ตามความเหมาะสมบนพื้นฐานอื่นๆได้ และสำหรับนักลงทุนที่เน้นคุณค่า หรือ Value Investor นั้น มีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องศึกษาข้อมูลงบการเงินของบริษัท ซึ่งในบทความนี้ผู้เขียนต้องการที่จะกล่าวถึง สาระสำคัญของงบการเงินที่นักลงทุนควรที่จะต้องพิจารณา โดยมีด้วยกันอยู่ 2 รายงาน และ 3 งบ ดังนี้
3938 ผู้เข้าชม
กรณีเพิ่มลดภาษี ของรัฐบาลจะมีผลต่อระบบเศรษฐกิจหรือไม่ การดูแลระบบเศรษฐกิจของประเทศให้ขับเคลื่่อนไปข้างหน้าเป็นหน้าที่หนึ่งของรัฐบาล โดยจะแบ่งออกเป็นหลายด้าน ซึ่งการเพิ่มลดภาษีก็เป็นวิธีหนึ่งที่รัฐบาลใช้ควบคุมเสถียรภาพของเศรษฐกิจ ไม่ให้เจริญเติบโตเร็วเกินไป หรือ ถดถอยตัวมากเกินไป หากเศรษฐกิจเติบโตเร็วเกินไป จะมีผลทำให้เศรษฐกิจอยู่ในระดับการผลิตสูงสุด ทำให้ภาคเอกชนมีความต้องการจ้างงานมาก ซึ่งมีผลทำให้ประชาชนมีงานทำและมีรายได้ที่ดี จึงสามารถซื้อบ้านซื้อรถ ทำให้สินค้ามีราคาสูงมากจนเกินไป หากเศรษฐกิจถดถอยจะมีผลทำให้เศรษฐกิจอยู่ในระดับการผลิตที่ต่ำ ภาคเอกชนมีความต้องการในการจ้างเงินต่ำ และทำให้ประชาชนมีการว่างงานมากขึ้น มีกำลังในการใช้จ่ายน้อยทำให้เศรษฐกิจตกต่ำ สินค้าขายไม่ได้ รัฐบาลจึงจำเป็นต้องเข้ามามีส่วนที่จะทำให้ระบบเศรษฐกิจเข้าสู่ภาวะที่เหมาะสม ซึ่งการเพิ่มลดภาษี ก็เป็นวิธีหนึ่งที่นิยมใช้งานกันอย่างแพร่หลาย
24863 ผู้เข้าชม
61000 ผู้เข้าชม

สร้างเว็บไซต์สำเร็จรูปฟรี ร้านค้าออนไลน์