Accounting Articles

Accounting Articles

437 รายการ
วันนี้เราจะมาดูกันว่าเจ้าของจะสามารถนำเงินออกจากบริษัทได้โดยทางใดบ้าง และแต่ละทางมีข้อดี-ข้อเสียทางภาษีที่แตกต่างกันอย่างไร
1177 ผู้เข้าชม
ตามมาตรา 12 แห่งประมวลรัษฎากร หากบุคคลใดมีภาษีอากรค้าง กรมสรรพากรสามารถยึดหรืออายัดทรัพย์และขายทอดตลาดได้เลยโดยยังไม่ต้องฟ้องต่อศาลก่อนก็ได้  และระยะเวลาที่มีอํานาจทําได้ก็เป็นเวลานานถึง 10 ปี
1063 ผู้เข้าชม
Discloser Form หรือแบบรายงานประจำปี สำหรับบริษัทหรือห้างหุ้นส่่วนนิติบุุคคลที่มีความสัมพันธ์กันตาม มาตรา 71 ทวิ แห่งประมวลรัษฎากร เป็นแบบรายงานที่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุุคคลที่มีความสัมพันธ์กัน ต้องจัดทำตามแบบที่อธิบดีกำหนดและยื่นพร้อมกับการยื่่นแบบแสดงรายการเพื่่อเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล (ภ.ง.ด.) ตามมาตรา 69 แห่่งประมวลรัษฎากร คือ ภายใน 150 วันนับแต่วันสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชี ซึ่งได้กำหนดให้ผู้เสียภาษีกรอกรายการที่่มีระหว่างกัน มูลค่าธุรกรรม ของนิติบุุคคลที่มีความสัมพันธ์กันทั้งในประเทศและต่างประเทศ ซึ่งจะเป็นข้อมูลเบื้องต้นที่กรมสรรพากรใช้เป็นเครื่องมือในการประเมินความเสี่่ยง กรณี การกำหนดราคา(Transfer Price) ระหว่างนิติบุคคลที่่มีีความสัมพันธ์กันที่ไม่เป็นไปตาม Arm’s length Price ซึ่งจะมีผลให้นิติบุคคลไม่เสียภาษีหรือเสียภาษีในประเทศไทย น้อยกว่่าที่ควรจะเป็น
1292 ผู้เข้าชม
สินค้าขายได้ดีไหม เราถือสินค้าไว้นานเท่าไรกว่าจะขายได้ นักบัญชีจะช่วยเจ้าของธุรกิจวิเคราะห์สินค้าคงเหลือได้อย่างไรบ้าง
30854 ผู้เข้าชม
การปิดงบการเงินแบบ normal อาจจะเป็นเรื่องไม่ normal อีกต่อไป ตั้งแต่มี Covid-19 เข้ามา แทบจะทุกธุรกิจได้รับผลกระทบจากโควิด เริ่มตั้งแต่ธุรกิจต้นน้ำไปจนถึงปลายน้ำ และแน่นอนว่าผลกระทบเหล่านี้ย่อมต้องสะท้อนออกมาในงบการเงินอย่างถูกต้องและเหมาะสมเช่นกัน ก่อนจะปิดบัญชีปีนี้มีจุดเสี่ยงสำคัญอะไรในงบการเงินบ้างที่นักบัญชีต้องเรียนรู้ เราขออาสาพาทุกท่านมาทำความเข้าใจไปพร้อมๆ กันเลย ในบทความนี้ค่ะ
667 ผู้เข้าชม
ภ.ง.ด.50 และ ภ.พ.30 เป็นการรับรู้รายได้ที่แตกต่างกัน โดยส่วนมากตาม ภ.ง.ด.50 หรือ ภาษีเงินได้นิติบุคคล (CIT: Corporate Income Tax) จะรับรู้รายได้ตามเกณฑ์คงค้าง ส่วนภ.พ. 30 (VAT) เป็นการรับรู้รายได้ตาม Tax Point ที่เกิดขึ้น ซึ่งเป็นไปตามหลักการรับรู้ของภาษีมูลค่าเพิ่ม ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับประเภทของธุรกิจ และประเภทรายได้ที่เกิดขึ้นด้วยตามตัวอย่างที่แสดงให้ดูในตารางสรุปด้านล่าง ดังนี้
9020 ผู้เข้าชม
เชื่อว่ามีหลายคนเลยทีเดียวที่คิดว่า ภาษีที่ดินกับภาษีบำรุงท้องที่เป็นภาษีชนิดเดียวกัน เพียงแต่มีคนเรียกให้ต่างกันเท่านั้น แต่ในความเป็นจริงแล้ว ภาษีทั้งสองชนิดแตกต่างกันอย่างสิ้นเชิง และด้วยความเข้าใจที่ผิดเพี้ยนไปนี้เอง ทำให้หลายคนไม่รู้ว่าตนเองต้องจ่ายภาษีอะไรกันแน่ ยิ่งถ้าหากเป็นเจ้าของที่ดิน นายหน้า และเหล่านักอสังหาริมทรัพย์ ยิ่งต้องแยกให้ออกว่า ระหว่างภาษีทั้งสองประเภทต่างกันอย่างไร ที่สำคัญคือ ภาษีเหล่านี้ใน พ.ร.บ. ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างฉบับใหม่มีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมหรือไม่
426 ผู้เข้าชม
การควบโอนกิจการ การควบรวมกิจการ (Merger) หมายถึง กรณีที่นิติบุคคลตั้งแต่สองบริษัทขึ้นไป มีการโอนกิจการหรือทรัพย์สินหรือ หุ้นทั้งหมดให้แก่กันไม่ว่าในระดับผู้ถือหุ้นหรือในระดับบริษัท
2114 ผู้เข้าชม
61010 ผู้เข้าชม

สร้างเว็บไซต์สำเร็จรูปฟรี ร้านค้าออนไลน์